วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555

          การรับประทานอาหารตามกรุ๊ปเลือด เป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับคนที่รักสุขภาพ เนื่องจากการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับกรุ๊ปเลือดจะเป็นการเสริมสร้างสมดุลที่ดีให้แก่ร่างกาย ภูมิต้านทาน ระบบย่อย รวมถึงการลดน้ำหนัก และช่วยทำให้ไม่แก่เร็วอีกด้วย

วันพุธที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555


การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัย พืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ครั้งที่ 6

วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2555
ณ หอประชุมเบญจรัตน์ อาคารนวมินทรราชินี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
หลักการและเหตุผล ผู้ร่วมการประชุม 
ปัจจุบันงานวิจัยและพัฒนาพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน เช่น ข้าว พืชไร่ ไม้ผล ผัก พืชสมุนไพร เครื่องเทศ ไม้ดอกและไม้ประดับ มีความสำคัญมากขึ้น อันจะเห็นได้จากการพัฒนาเทคโนโลยี ทั้งในด้านการผลิต การเก็บเกี่ยว หลังการเก็บเกี่ยว และการแปรรูป การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและสรีรวิทยา ตั้งแต่ในระดับแปลงปลูกของเกษตรกร ระดับห้องปฏิบัติการ จนถึงในระดับอุตสาหกรรม โดยงานวิจัยต่างๆ ที่ได้ทำการศึกษานั้น บางส่วนได้มีโอกาสนำมาเผยแพร่แก่นักวิจัย นักวิชาการ ตลอดจนผู้ประกอบการในภาคเอกชนที่มีความสนใจ และติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยด้านการเกษตรของประเทศ ดังนั้นศูนย์วิจัยและพัฒนาพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ครั้งที่ 6 ขึ้น ในวันที่ 26-27 กรกฎาคม 2555 เพื่อให้ อาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ และนักศึกษาได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในงานวิจัย ร่วมกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งถือเป็นการสร้างความร่วมมือและขยายขอบเขตในการพัฒนางานวิจัยให้กว้างยิ่งขึ้น

จากจุดเริ่มต้นของการจัดการประชุมพืชเขตร้อนและกึ่งร้อนในครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2550 จนถึงครั้งที่ 5 (ปี พ.ศ. 2554) เป็นการเปิดโอกาสให้มีการเสนอผลงานวิจัยอย่างหลากหลาย รวมทั้งยังคงมีงานวิจัยที่มีศักยภาพที่จะนำมาเผยแพร่อีกเป็นจำนวนมาก จึงเป็นเหตุให้เกิดการประชุมอย่างต่อเนื่องมาจนถึงครั้งที่ 6 ในปี พ.ศ. 2555 ซึ่งเป็นการประชุมที่ประกอบด้วยการบรรยายและอภิปรายจากวิทยากรรับเชิญที่มีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศ และยังมีการนำเสนอผลงานวิจัยทั้งแบบบรรยายและโปสเตอร์จากนักวิจัยรุ่นกลางและรุ่นใหม่ รวมถึงจากนิสิต- นักศึกษา ตลอดจนมีการมอบรางวัลการนำเสนอผลงานดีเด่นแก่นักวิจัยรุ่นเยาว์ เพื่อเป็นกำลังใจให้สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพต่อไป นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมประชุมยังจะได้มีโอกาสได้ชมนิทรรศการเครื่องมือทันสมัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและเกษตรจากบริษัทผู้แทนจำหน่าย และพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านงานวิจัย การสร้างเครือข่ายงานวิจัยวิทยาศาสตร์ด้านพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ของประเทศไทยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
กำหนดการ 
ส่งบทคัดย่อภาษาไทยและอังกฤษ 1 กรกฎาคม 2555
วันสุดท้ายในการชำระค่าลงทะเบียนอัตราพิเศษ 1 กรกฎาคม 2555
หมดเขตในการส่งเรื่องเต็ม 15 กรกฎาคม 2555
ประชุมวิชาการและเสนอผลงาน 26-27 กรกฎาคม 2555

ค่าลงทะเบียน 
อาจารย์ นักวิจัย และบุคคลทั่วไป 
นิสิต นักศึกษา  
ก่อน 1 กรกฎาคม 2555 
1000 
800 
หลัง 1 กรกฎาคม 2555 
1200 
1000 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมรศ.ดร. อรพิน เกิดชูชื่น โทร. 02-470-7781 orapin.ker@kmutt.ac.th)
รศ.ดร. ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์  โทรศัพท์ 02-470-7752 ( nutta.lao@kmutt.ac.th)
ผศ.ดร. เบญจวรรณ ธรรมธนารักษ์  โทร. 02-913-2500 ต่อ 4709 ( btr@kmutnb.ac.th)
ความสำคัญของการสอบขึ้นทะเบียนนักวิทยาศาสตร์อาหาร เพื่ออุตสาหกรรมอาหร CFoP
การสอบจะช่วยให้เราได้ฟื้นฟูวิชาที่เรียนไปแล้ว รวมถึงประเด็นสำคัญที่ต้องนำมาใช้ในการทำงาน หลายคนเรียนจบแล้ว ก็ไม่มีเวลาทบทวนความรู้เก่า หรือมองหาความรู้ใหม่ เพราะเราต...้องใช้เวลาไปกับการทำงานในแต่ละวันจริงมั๊ยคะ แต่คนที่สอบและได้ชึ้นทะเบียนไว้ จะได้รับข่าวสาร ข้อมูล และต้องเตรียมตัวเพื่อการต่ออายุทุก 3 ปี จึงเป็นเครื่อข่ายที่ได้ update ข้อมูลใหม่ๆ ตลอดเวลา ทำให้ไม่ตก trend แน่นอนค่ะ

อีกประเด็นคือถ้าเราเปิด AEC ในปี 2015 หมายถึงการไม่มีกำแพงกั้นระหว่างประเทศในอาเซียน การหมุนเวียนของสินค้า เทคโนโลยี และโดยเฉพาะ แรงงาน จะเกิดขึ้น ลองนึกเล่นๆ ดูว่า จะมีแรงงานที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ดีมาก รวมถึงค่าแรงถูกกว่าเรา เข้ามาทำงานในเมืองไทยได้ แล้วแรงงานไทยจะรับมืออย่างไร

แต่สิงที่สำคัญที่สุดของการขึนทะเบียน คือการพัฒนาให้ทุกคนในโรงงานอาหารตระหนักเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยอาหารค่ะ จะเห็นว่าเรามีกฏหมาย และมาตรฐานที่ต้องทำหลายระบบ แต่าเรายังมีปัญหาด้านความปลอดภัยอยู่เสมอ เพราะผู้ปฏิบัติงานไม่เข้าใจในหลักสำคัญอย่างถูกต้อง จึงตีความไม่ครบถ้วน เราจะแก้ปัญหานี้ได้โดยการมีนักวิทยาศานตร์อาหารที่รู้ปัญหา เข้าใจสภาพความเป็นจริงของและประยุกติ์ใช้ความรู้ได้เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ ประจำอยู่ในสถานประกอบการทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ เพื่อกำกับดูแลให้ปฏิบัติได้ถูกต้องค่ะ

สิ่งที่สมาคมเริ่มทำในตอนนี้ แม้ยังไม่เป็นกฏหมาย แต่ก็อยู่ในขั้นตอนการเตรียมประกาศร่วมกับ อย. เพื่อใช้เป็นกฏหมายในสถานประกอบการที่จำเป็นอยู่นะคะ โรงงานอาหารที่ดีต้องสามารถดูแลสินค้าของตัวเองได้ ส่วนผู้ประกอบการขนาดเล็ก ต้องรวมกลุ่มกัน และดูแลกลุ่มของตนเองได้เช่นกันค่ะ
สนใจสมัครสอบได้ที่ www.fostat.org

Gluten free furore highlights inaccurate reporting

1 commentBy Rod Addy, 28-May-2012

A recent expose of the cost of gluten free products on the National Health Service (NHS) drew on inaccurate reports, according to ‘free from foods’ authority Foods Matter.

A televised report for BBC2’s Newsnight programme claimed gluten free products sourced on prescription were costing the UK NHS too much cash. The programme referred to figures suggesting that a single gluten free loaf of bread could cost the NHS as much as £32 (€39.98).
However, Michelle Berriedale-Johnson, editor of the Foods Matter website and the brains behind the UK Free From Food Awards pointed out that these figures had been debunked by Welsh Health Minister Lesley Griffiths.
Griffiths said: “This claim is inaccurate. The actual cost for the single loaf of gluten-free bread in question is around £2.82 (€3.52), not the £32 claimed. The £32 cost quoted is for an average prescription on which several loaves are ordered at a time.
“Over the last 12 months there were 27 prescriptions issued for the gluten free bread quoted as costing £32 per loaf. On the 27 prescriptions, the total amount of the bread prescribed was 123,600g. Each loaf is 400g. Therefore, 309 loaves were prescribed for £871.36 (€1,088.63), ie. £2.82 per 400g loaf.”
However, Berriedale-Johnson said the correct figure was still “excessive”. “Even if the cost to the NHS is not that great, you would like it to cost exactly the same [as conventional food products],” she told FoodNavigator. That said, she conceded that processing costs of such foods might be higher, meaning they might have to be priced at a premium.
The debate had also provoked the issue of whether gluten free foods should be provided on prescription at all in the UK. The same was not true for foods for diabetics, for example, said Berriedale-Johnson. Norway uses a voucher scheme to subsidise the cost of gluten free products, she said.
Overall it might be preferable for gluten free products to be available through mainstream retail outlets and internet channels than on prescription, said Berriedale-Johnson. “Gluten free suppliers should be focusing on the retail market. There are more opportunities in retail.” However, she acknowledged that gluten free products available to mainstream consumers were not always as nutritious as those provided through the NHS.
“Gluten free products certainly could have a better nutritional profile. Some are fantastic and some are not. Gluten free breads could also be fortified. There is definitely an opportunity to produce food to higher nutritional standards.”